การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็กรูปพรรณ (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SSE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน   หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็กรูปพรรณ (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SSE) นะครับ        วันนี้มีคำถามมาจากเพื่อนๆ ของเราท่านหนึ่งได้ฝากคำถามมาว่า “ไม่ทราบว่าในการออกแบบและใช้งานโครงสร้างเหล็กเหตุใดจึงมีความนิยมที่จะใช้โครงสร้าง เสา ที่ทำขึ้นจากหน้าตัดรูปทรง … Read More

ข้อต่อเหล็กข้ออ้อยทางกล COUPLER

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน  วันนี้ผมจะมาแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่องข้อต่อเหล็กข้ออ้อยทางกล หรือ ที่เรานิยมเรียกกันสั้นๆ ว่า COUPLER นะครับ   โดยปกติดในการต่อเหล็กเส้นในงานโครงสร้างเราจะนิยมใช้วิธีต่อทาบเหล็กเสริม โดยที่ระยะทาบนี้จะอยู่ที่ 40D หรือ 50D และ เราจะใช้ลวดมัดหรือเชื่อมติดกัน ถ้าในโครงสร้างมีการเสริมเหล็กจำนวนมาก วิธีการทาบก็ทำให้เหล็กเสริมในโครงสร้างที่จุดต่อแน่นมากขึ้น ทำให้พื้นที่หน้าตัดคอนกรีต ลดน้อยลง … Read More

เครื่องวัดหน่วยความเครียด STRAIN GAUGE

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน  หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ วันนี้ผมจะมาพาเพื่อนๆ ทุกคนไปทำความรู้จักกันกับอุปกรณ์ๆ หนึ่งที่จะทำหน้าที่สำคัญมากๆ เมื่อมีการทดลองทางด้านวิศวกรรม เจ้าอุปกรณ์นี้มีชื่อว่า STRAIN GAUGE นั่นเองนะครับ หากเราจะแปลความหมายของ … Read More

ADVANCED STRUCTURAL ANALYSIS METHOD

ADVANCED STRUCTURAL ANALYSIS METHOD สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน พบกันอีกครั้งหนึ่งในบ่ายวันจันทร์แบบนี้ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง การเตรียมตัวสอบเพื่อที่จะได้ใบประกอบวิชาชีพวิศวกรโยธา มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาพูดถึงเรื่อง วิธีในการวิเคราะห์โครงสร้างด้วยวิธีการที่มีความทันสมัยใหม่ หรือ ADVANCED STRUCTURAL ANALYSIS METHOD โดยวิธีการนี้ก็คือ วิธีการวิเคราะห์ด้วยเมตริกซ์ … Read More

INVERTED V BRACING

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากในช่วยปลายของสัปดาห์นี้ไปจนถึงช่วงปลายๆ ของสัปดาห์หน้า แอดมินมีกำหนดการที่จะต้องเดินทางไป ณ ประเทศไต้หวัน เพื่อไปนำเสนอผลงานการทำงานวิจัยในระดับ ป เอก ที่กำลังศึกษาอยู่ ทางแอดมินจึงอยากจะขออนุญาตเพื่อนๆ ทุกคนทำการปรับเปลี่ยนผังและแผนของการโพสต์สักเล็กน้อย ทั้งนี้ก็เพื่อให้แอดมินนั้นสะดวกและเราเราก็ยังจะได้สามารถพบกันได้ในทุกๆ วันเหมือนเช่นเคยได้นั่นเองครับ วันนี้ผมมีโอกาสได้มาเดินพักผ่อนยามเย็นหลังจากงานสัมมนาวิชาการที่ย่านตลาดถนนคนเดินในแถบถนนรูสท์เวลล์ ย่านใจกลางของเมืองไทเปในประเทศไต้หวันและผมก็ได้มีโอกาสไปพบเจอเข้ากับอาคารๆ หนึ่งที่มีความน่าสนใจ ผมจึงตัดสินใจทำการถ่ายรูปและนำมาฝากเพื่อนๆ ด้วยนะครับ … Read More

วิธีการทำบ่อสังเกตการณ์ หรือ OBSERVATION WELL

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ สืบเนื่องจากเนื้อหาในสัปดาห์ที่แล้วที่ผมได้พูดถึงเรื่อง ผลของระดับน้ำใต้ดิน และผมก็ได้แจ้งไปด้วยว่า ในวันนี้ผมจะขออนุญาตพูดถึงวิธีในการที่พวกเรานิยมนำมาใช้ในการตรวจสอบหาค่าของระดับน้ำใต้ดินที่ค่อนข้างให้ผลที่น่าเชื่อถือมาฝากเพื่อนๆ ทุกๆ คนนะครับ โดยที่วิธีการแรกที่ผมตั้งใจที่จะนำเอามาหยิบยกเล่าให้เพื่อนๆ ฟังในวันนี้ก็คือ วิธีการทำบ่อสังเกตการณ์ หรือ OBSERVATION … Read More

แนวคิดในการออกแบบโครงสร้างรับแรงแผ่นดินไหวในปัจจุบัน

แนวคิดในการออกแบบโครงสร้างรับแรงแผ่นดินไหวในปัจจุบัน สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้แอดมินมีโอกาสได้พูดคุยกับเพื่อนชาวต่างชาติเกี่ยวกับเรื่องของแนวคิดในการออกแบบโครงสร้างเหล็กเพื่อใช้ต้านทานแรงกระทำจากแผ่นดินไหวในปัจจุบันและในอนาคตว่าจะเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไรบ้าง ? ผมเลยคิดว่าหากจะนำมาแชร์ให้เพื่อนๆ ได้รับทราบด้วย ก็น่าจะเป็นการดีครับ หลักการออกแบบโครงสร้างรับแรงแผ่นดินไหวในปัจจุบันใช้สมมติฐานว่าโครงสร้างมีพฤติกรรมอยู่ในช่วงเชิงเส้น กระบวนการออกแบบเริ่มต้นโดยการหาแรงเฉือนที่ฐานของอาคาร ซึ่งหาได้จากค่าสัมประสิทธิ์ผลตอบสนองแรงแผ่นดินไหว (Cs) และค่าความเร่งตอบสนองเชิงสเปคตรัมสำหรับการออกแบบที่คาบการสั่นพื้นฐานของอาคาร (Sa) โดยมีสมมติฐานที่ว่าโครงสร้างมีพฤติกรรมเป็นเชิงเส้น จากนั้นจึงลดทอนค่าแรงเฉือนด้วยค่าตัวประกอบปรับผลตอบสนอง (R) ที่แปรผันตามค่าความเหนียวของระบบโครงสร้างที่ได้สมมุติไว้ ค่าแรงเฉือนที่ฐานสำหรับการออกแบบนี้จะเพิ่มขึ้นหรือลดลงตามระดับความสำคัญในการใช้งานของโครงสร้างอาคาร โดยใช้ตัวประกอบความสำคัญของอาคาร … Read More

ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ

ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ   สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ หลังจากที่ก่อนหน้านี้ผมได้เคยโพสต์และให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ประเภทของการออกแบบและการใช้งานโครงสร้างเหล็กแผ่นที่จะมีหน้าที่ในการรับแรงอัดจากเสาเหล็ก หรือเรียกง่ายๆ ว่าโครงสร้าง BASE PLATE ว่ามีทั้งหมด 2 ประเภทด้วยกัน ประเภทที่ 1 ได้แก่แบบที่ไม่มีการเทให้เต็มด้วยซีเมนต์ชนิดไม่มีการหดตัวหรือ … Read More

MOMENT INERTIA และค่าพื้นที่หน้าตัดหรือ SECTIONAL AREA

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ หากเพื่อนๆ ยังจำกันได้เมื่อสัปดาห์ก่อนหน้านี้ผมได้ให้ความช่วยเหลือน้องนักศึกษาท่านหนึ่งที่ได้เข้ามาปรึกษาเรื่องการวิเคราะห์โครงสร้างคานยื่นที่มีลักษณะความยาวช่วงที่ค่อนข้างจะสั้น จากการพูดคุยกันผลปรากฏว่าน้องน่าที่จะมีความเข้าใจในประเด็นข้อสงสัยต่างๆ เป็นที่เรียบร้อยแล้ว ยังไงผมก็อวยพรให้น้องท่านนี้โชคดีก็แล้วกันเพราะต่อไปเมื่อเรียนจบน้องต้องออกไปทำงานน้องก็จะต้องเจอกับปัญหาที่มีความหนักหน่วงมากกว่านี้หลายเท่านัก เพื่อนๆ ละครับได้อ่านปัญหาของน้องท่านนี้แล้วมีใครบ้างหรือไม่ครับที่นำเอาไปคิดต่อกันบ้าง ? ดังนั้นในวันนี้ผมจะมาทำการสรุปให้เพื่อนๆ ทุกคนได้รับทราบกันเป็นโพสต์สุดท้ายก็แล้วกัน หากจะว่าไปแล้วปัญหาของน้องนักศึกษาท่านนี้จะมีอยู่ด้วยกัน 2 ประการหลักๆ ได้แก่ … Read More

วิธีในการวิเคราะห์แรงแผ่นดินไหว หรือ SEISMIC ANALYSIS

วิธีในการวิเคราะห์แรงแผ่นดินไหว หรือ SEISMIC ANALYSIS หากจะให้อธิบายให้เข้าใจให้ง่ายๆ ในขันตอนนี้เราทำขึ้นเพื่อวิเคราะห์เพื่อหาระดับของผลตอบสนองต่างๆ ที่โครงสร้างของเรานั้นจะมีต่อแรงแผ่นดินไหวที่เข้ามากระทำต่ออาคารของเรานั่นเองนะครับ หากทำการตั้งคำถามว่าเพราะเหตุใดเราถึงต้องสนใจค่าผลตอบสนองของโครงสร้าง ? หากจะอธิบายให้เข้าใจได้ง่ายๆ อีกเช่นเคย ก็คงจะตอบได้ว่า เพื่อให้เราสามารถที่จะทราบได้ว่าในสภาวะที่โครงสร้างของเรานั้นถูกกระทำด้วยแรงแผ่นดินไหว จะมีค่าแรงภายในโครงสร้างเป็นเท่าใด เราจะได้นำค่าแรงนั้นๆ มาใช้ทำการออกแบบให้โครงสร้างสามารถที่จะต้านทานต่อแรงกระทำดังกล่าวได้และในบางครั้ง เราก็อาจจะไม่ได้สนใจค่าแรงภายในโครงสร้างเท่าใด แต่เรากลับสนใจค่าการเสียรูปสูงสุดทางด้านข้างของโครงสร้างว่ามีค่าเป็นเท่าใด ยังอยู่ในเกณฑ์ที่ยอมรับได้ตามข้อกำหนดในการออกแบบหรือไม่ เป็นต้นครับ … Read More

1 2 3 4 8